คำสุภาษิต

รู้หลบเป็นปีกรู้หลีกเป็นหาง

หมายถึง รู้จักเอาตัวรอดหรือปรับตัวให้เข้ากับเหตุการณ์

หมายถึง การรู้จักหลบหลีกเอาตัวรอดจากปัญหา สถานการณ์ที่ลำบากหรืออันตรายได้

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • คำสุภาษิต: รู้หลบเป็นปีกรู้หลีกเป็นหาง หมายถึง?, หมายถึง รู้จักเอาตัวรอดหรือปรับตัวให้เข้ากับเหตุการณ์ อวัยวะ หาง, ตัว
  • คำสุภาษิต: รู้หลบเป็นปีกรู้หลีกเป็นหาง หมายถึง?, หมายถึง การรู้จักหลบหลีกเอาตัวรอดจากปัญหา สถานการณ์ที่ลำบากหรืออันตรายได้ อวัยวะ หาง
  • คำสุภาษิต: รู้หลบเป็นปีกรู้หลีกเป็นหาง หมายถึง?, หมายถึง รู้จักเอาตัวรอดหรือปรับตัวให้เข้ากับเหตุการณ์ อวัยวะ หาง, ตัว

 คำสุภาษิตที่คล้ายกัน

กำแพงมีหูประตูมีช่อง / กำแพงมีหูประตูมีตา กินน้ำเห็นปลิง ตาบอดคลำช้าง บอกหนังสือสังฆราช รักดีหามจั่วรักชั่วหามเสา รีดเลือดกับปู สี่ตีนยังรู้พลาด นักปราชญ์ยังรู้พลั้ง อย่าสอนจระเข้ให้ว่ายน้ำ เล่นเอาเถิดเจ้าล่อ เอามะพร้าวห้าวไปขายสวน เอาหูไปนา เอาตาไปไร่ แกงจืดจึงรู้คุณเกลือ

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น
 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ