คำสุภาษิต

ขิงก็ราข่าก็แรง

หมายถึง ต่างคนต่างแรง ไม่ยอมกัน เรื่องเล็กก็เลยกลายเป็นเรื่องใหญ่ไป เพราะทิฐิมานะ

หมายถึง ต่างก็จัดจ้านพอๆกัน,ต่างก็มีอารมณ์ร้อนพอๆกัน,ต่างไม่ยอมลดละกัน

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • คำสุภาษิต: ขิงก็ราข่าก็แรง หมายถึง?, หมายถึง ต่างคนต่างแรง ไม่ยอมกัน เรื่องเล็กก็เลยกลายเป็นเรื่องใหญ่ไป เพราะทิฐิมานะ คำนาม คน
  • คำสุภาษิต: ขิงก็ราข่าก็แรง หมายถึง?, หมายถึง ต่างก็จัดจ้านพอๆกัน,ต่างก็มีอารมณ์ร้อนพอๆกัน,ต่างไม่ยอมลดละกัน

 คำสุภาษิตที่คล้ายกัน

ขนมผสมน้ำยา ขวานฝ่าซาก ขว้างงูไม่พ้นคอ ขายผ้า เอาหน้ารอด ขายผ้าเอาหน้ารอด ขี่ช้างจับตั๊กแตน ขุดด้วยปาก ถากด้วยตา ขุดบ่อล่อปลา ข่มเขาโคขืนให้กินหญ้า ปากปราศัย ใจเชือดคอ รู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น
 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ