คำสุภาษิต

วัวเห็นแก่หญ้าขี้ข้าเห็นแก่กิน

หมายถึง หมายถึงคนที่เห็นแก่ได้ เห็นแก่กิน และเกียจคร้าน

หมายถึง คนชั้นล่างทีทำอะไรเห็นแก่ได้ เอาแต่กอบโดย

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • คำสุภาษิต: วัวเห็นแก่หญ้าขี้ข้าเห็นแก่กิน หมายถึง?, หมายถึง หมายถึงคนที่เห็นแก่ได้ เห็นแก่กิน และเกียจคร้าน คำนาม คน สัตว์ วัว ธรรมชาติ หญ้า
  • คำสุภาษิต: วัวเห็นแก่หญ้าขี้ข้าเห็นแก่กิน หมายถึง?, หมายถึง คนชั้นล่างทีทำอะไรเห็นแก่ได้ เอาแต่กอบโดย คำนาม คน สัตว์ วัว ธรรมชาติ หญ้า

 คำสุภาษิตที่คล้ายกัน

ข่มเขาโคขืนให้กินหญ้า ตามใจปากมากหนี้ ตีวัวกระทบคราด นายว่า ขี้ข้าพลอย นายว่าขี้ข้าพลอย วัวใครเข้าคอกคนนั้น หญ้าปากคอก หมาในรางหญ้า อย่าข่มเขาโคขืนให้กินหญ้า เขียนเสือให้วัวกลัว เลี้ยงช้างกินขี้ช้าง โคแก่ชอบกินหญ้าอ่อน

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น
 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ