คำสุภาษิต

เข้าเมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม

หมายถึง ประพฤติให้ถูกต้องตามกาลเทศะ เมื่อไปอยู่ในพวกเขาแล้ว ก็ต้องประพฤติคล้อยตามเขา

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • คำสุภาษิต: เข้าเมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม หมายถึง?, หมายถึง ประพฤติให้ถูกต้องตามกาลเทศะ เมื่อไปอยู่ในพวกเขาแล้ว ก็ต้องประพฤติคล้อยตามเขา อวัยวะ ตา คำกริยา เท

 คำสุภาษิตที่คล้ายกัน

กำแพงมีหูประตูมีช่อง / กำแพงมีหูประตูมีตา ขุดด้วยปาก ถากด้วยตา ถี่ลอดตาช้าง ห่างลอดตาเล็น ปากว่าตาขยิบ เกี่ยวแฝกมุงป่า เก็บหอมรอมริบ เรือล่มในหนองทองจะไปไหน เสน่ห์ปลายจวัก ผัวรักจนตาย เสียทองเท่าหัวไม่ยอมเสียผัวให้ใคร เอามือซุกหีบ เอาหูไปนา เอาตาไปไร่ ไม่ดูตาม้าตาเรือ

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น
 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ